Tuesday, February 23, 2010

lincomycin injection

มีพยาบาลถามว่า lincocin ฉีด iv ได้ไม้ เราก็ต้องมาเปิดตำราดู เพราะส่วนใหญ่ที่เจอคือ ฉีด im 2 ml วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลา 3 วัน ในรายเจ็บคอเป็นไข้สูง
ได้ข้อมูลมาดังนี้

Adults
IV For serious infections, administer 600 to 1,000 mg every 8 to 12 h. For more severe infections, the dose may be increased. In life-threatening infections, doses up to 8 g/day have been given (max, 8 g/day).

Children older than 1 mo of age
IV 10 to 20 mg/kg/day (5 to 10 mg/lb/day) depending on the severity of the infection; administer in divided doses.

Adults IM For serious infections, administer 600 mg every 24 h. For more severe infections, 600 mg every 12 h or more often.

Children older than 1 mo of age
IM For serious infections, administer 10 mg/kg (5 mg/lb) every 24 h. For more severe infections, 10 mg/kg (5 mg/lb) every 12 h or more often.

General Advice
IV concentration and rate: 600 to 1,000 mg: Use 100 mL of diluent and administer over a period of not less than 1 h. 2 g: Use 200 mL of diluent and administer over a period of not less than 2 h. 3 g: Use 300 mL of diluent and administer over a period of not less than 3 h. 4 g: Use 400 mL of diluent and administer over a period of not less than 4 h.
Storage/Stability
Store at 68° to 77°F.

cimetidine 200 mg iv

พยาบาลมาถามว่า cimetidine ต้องเจือจางกับ sterile water ไม้ เราเลยเปิดตำราดูบอกว่าให้ผสมกับ nss 0.9%หรือ D-5-W ให้ได้ 20 ml ใช้เวลาให้ยาไม่น้อยกว่า 5 นาที เพื่อไม่ให้เกิดอาการข้างเคียงของยา หรืออาจผสมให้ได้ 50 ml ให้ยาอย่างน้อย15 นาที
Cimetidine is injected into a vein or muscle by a health care professional, usually every 6 to 8 hours or as directed by your doctor. When injected into a vein, cimetidine should be given slowly over at least 5 minutes. Giving the medication too fast may cause dizziness, irregular heartbeat, or a drop in blood pressure. Your healthcare professional will be watching you for these symptoms. If you experience any of these symptoms while receiving this medication, tell your health care professional immediately. This medic
ation may also be mixed in a solution and injected slowly over 15-20 minutes or continuously.

cimetidine มีชื่อการค้าว่า tagamet ลองค้นในเน็ตของบริษัทยาดู มีข้อมูลดังนี้
standard dilution:0-300 mg/50 ml (ให้ยาภายใน15-30 นาที)
400 mg/100 ml (ให้ยาภายใน 30 นาที)
continuous infusion: 900 mg/250 ml (24 ชั่วโมง)
901-2400 mg/250-1000 ml (24 ชั่วโมง)
stability หลังผสม 48 ชั่วโมง
Renal dosing: >40/ q6h; 20 to 40/ q8h; 5 to 20/q12h; <5/200 mg q12h.

DOSAGE AND ADMINISTRATION
Parenteral Administration
In hospitalized patients with pathological hypersecretory conditions or intractable ulcers, or in patients who are unable to take oral medication, cimetidine may be administered parenterally.

The doses and regimen for parenteral administration in patients with GERD have not been established.

Recommendations for Parenteral Administration:
Intramuscular Injection: 300 mg every 6 to 8 hours (no dilution necessary). Transient pain at the site of injection has been reported.
Intravenous Injection: 300 mg every 6 to 8 hours. In some patients it may be necessary to increase dosage. When this is necessary, the increases should be made by more frequent administration of a 300 mg dose, but should not exceed 2400 mg per day. Dilute Cimetidine Injection, USP, 300 mg, in Sodium Chloride Injection (0.9%) or another compatible I.V. solution (see Stability of Cimetidine Injection, USP) to a total volume of 20 mL and inject over a period of not less than 5 minutes (see PRECAUTIONS).
PRECAUTIONS - General:Rare instances of cardiac arrhythmias and hypotension have been reported following the rapid administration of cimetidine hydrochloride injection by intravenous bolus.
Symptomatic response to cimetidine therapy does not preclude the presence of a gastric malignancy. There have been rare reports of transient healing of gastric ulcers despite subsequently documented malignancy.

Reversible confusional states have been observed on occasion, predominantly, but not exclusively, in severely ill patients. Advancing age (50 or more years) and pre-existing liver and/or renal disease appear to be contributing factors. In some patients these confusional states have been mild and have not required discontinuation of cimetidine therapy. In cases where discontinuation was judged necessary, the condition usually cleared within 3 to 4 days of drug withdrawal.

Intermittent Intravenous Infusion: 300 mg every 6 to 8 hours, infused over 15 to 20 minutes. In some patients it may be necessary to increase dosage. When this is necessary, the increases should be made by more frequent administration of a 300 mg dose, but should not exceed 2400 mg per day.

Dilute Cimetidine Injection, USP, 300 mg, in at least 50 mL of 5% Dextrose Injection, or another compatible I.V. solution (see Stability of Cimetidine Injection, USP).
Continuous Intravenous Infusion: 37.5 mg/hour (900 mg/day). For patients requiring a more rapid elevation of gastric pH, continuous infusion may be preceded by a 150 mg loading dose administered by I.V. infusion as described above. Dilute 900 mg Cimetidine Injection, USP in a compatible I.V. fluid (see Stability of Cimetidine Injection, USP) for constant rate infusion over a 24-hour period. Note: Cimetidine Injection, USP may be diluted in 100 to 1000 mL; however, a volumetric pump is recommended if the volume for 24-hour infusion is less than 250 mL. In one study in patients with pathological hypersecretory states, the mean infused dose of cimetidine was 160 mg/hour with a range of 40 to 600 mg/hour.

These doses maintained the intragastric acid secretory rate at 10 mEq/hour or less. The infusion rate should be adjusted to individual patient requirements.

Stability of Cimetidine Injection, USP
When added to or diluted with most commonly used intravenous solutions, e.g., Sodium Chloride Injection (0.9%), Dextrose Injection (5% or 10%), Lactated Ringer’s Injection, 5% Sodium Bicarbonate Injection, Cimetidine Injection, USP should not be used after more than 48 hours of storage at room temperature
.

NOTE: The products accompanying this insert are for I.M./I.V. use only. Much of the following relates to the use of oral cimetidine and is for informational purposes only. See Parenteral Administration (above) for specific dosing recommendations.

Duodenal Ulcer(ลำไส้อักเสบ)
Active Duodenal Ulcer
Clinical studies have indicated that suppression of nocturnal acid is the most important factor in duodenal ulcer healing. This is supported by recent clinical trials (see Clinical Trials—Active Duodenal Ulcer). Therefore, there is no apparent rationale, except for familiarity with use, for treating with anything other than a once-daily at bedtime oral dosage regimen (h.s.).

In a U.S. oral dose-ranging study of 400 mg h.s., 800 mg h.s. and 1600 mg h.s., a continuous dose response relationship for ulcer healing was demonstrated.

However, 800 mg h.s. is the dose of choice for most patients, as it provides a high healing rate (the difference between 800 mg h.s. and 1600 mg h.s. being small), maximal pain relief, a decreased potential for drug interactions and maximal patient convenience. Patients unhealed at four weeks, or those with persistent symptoms, have been shown to benefit from two to four weeks of continued therapy.

It has been shown that patients who both have an endoscopically demonstrated ulcer larger than 1 cm and are also heavy smokers (i.e., smoke one pack of cigarettes or more per day) are more difficult to heal. There is some evidence which suggests that more rapid healing can be achieved in this subpopulation with cimetidine 1600 mg at bedtime. While early pain relief with either 800 mg h.s. or 1600 mg h.s. is equivalent in all patients, 1600 mg h.s. provides an appropriate alternative when it is important to ensure healing within four weeks for this subpopulation. Alternatively, approximately 94% of all patients will also heal in eight weeks with cimetidine 800 mg h.s.

Other cimetidine oral regimens in the U.S. which have been shown to be effective are: 300 mg four times daily, with meals and at bedtime, the original regimen with which U.S. physicians have the most experience, and 400 mg twice daily, in the morning and at bedtime (see Clinical Trials —Active Duodenal Ulcer).

Concomitant antacids should be given as needed for relief of pain. However, simultaneous administration of oral cimetidine and antacids is not recommended, since antacids have been reported to interfere with the absorption of oral cimetidine.

While healing with cimetidine often occurs during the first week or two, treatment should be continued for 4 to 6 weeks unless healing has been demonstrated by endoscopic examination.

Maintenance Therapy for Duodenal Ulcer
In those patients requiring maintenance therapy, the recommended adult oral dose is 400 mg at bedtime.

Active Benign Gastric Ulcer
The recommended adult oral dosage for short-term treatment of active benign gastric ulcer is 800 mg h.s., or 300 mg four times a day with meals and at bedtime. Controlled clinical studies were limited to six weeks of treatment (see Clinical Trials). 800 mg h.s. is the preferred regimen for most patients based upon convenience and reduced potential for drug interactions. Symptomatic response to cimetidine does not preclude the presence of a gastric malignancy. It is important to follow gastric ulcer patients to assure rapid progress to complete healing.

Prevention of Upper Gastrointestinal Bleeding
The recommended adult dosing regimen is continuous I.V. infusion of 50 mg/hour. Patients with creatinine clearance less than 30 cc/min. should receive half the recommended dose. Treatment beyond 7 days has not been studied.

Pathological Hypersecretory Conditions (such as Zollinger-Ellison Syndrome)
Recommended adult dosage: 300 mg four times a day with meals and at bedtime. In some patients it may be necessary to administer higher doses more frequently. Doses should be adjusted to individual patient needs, but should not usually exceed 2400 mg per day and should continue as long as clinically indicated.

Dosage Adjustment for Patients with Impaired Renal Function
Patients with severely impaired renal function have been treated with cimetidine. However, such usage has been very limited. On the basis of this experience the recommended dosage is 300 mg every 12 hours orally or by intravenous injection. Should the patient’s condition require, the frequency of dosing may be increased to every 8 hours or even further with caution. In severe renal failure, accumulation may occur and the lowest frequency of dosing compatible with an adequate patient response should be used. When liver impairment is also present, further reductions in dosage may be necessary. Hemodialysis reduces the level of circulating cimetidine. Ideally, the dosage schedule should be adjusted so that the timing of a scheduled dose coincides with the end of hemodialysis.

Patients with creatinine clearance less than 30 cc/min. who are being treated for prevention of upper gastrointestinal bleeding should receive half the recommended dose.

Do not administer product unless solution is clear and container is undamaged. Discard unused portion. All parenteral drug products should be inspected visually for particulate matter and discoloration prior to administration, whenever solution and container permit.
HOW SUPPLIED
Cimetidine Injection, USP 300 mg/2 mL cimetidine is supplied as follows:
Single-dose Fliptop Vial - 2 mL;
Multiple-dose Fliptop Vial - 8 mL.

Store at 20 to 25°C (68 to 77°F). [See USP Controlled Room Temperature.] Do not refrigerate.
August, 2006
©Hospira 2006 EN-1270
Hospira, Inc., Lake Forest, IL 60045 USA


--------------------------------------------------------------------------------

Stability
Intact vials of cimetidine should be stored at room temperature and protected from light; cimetidine may precipitate from solution upon exposure to cold but can be redissolved by warming without degradation

Stability at room temperature:
Prepared bags: 7 days

Premixed bags: Manufacturer expiration dating and out of overwrap stability: 15 days.

Wednesday, February 17, 2010

drug interaction

อันตรกิริยาของยาหรือเรียกอีกอย่างว่าปฏิกิริยาระหว่างยาเกิดขึ้นเมื่อผลการรักษาหรือบำบัดโรคของยาชนิดหนึ่งเปลี่ยนไปเนื่องจากยาชนิดอื่นที่ได้รับร่วมกัน หรืออาจเกิดจากอาหาร เครื่องดื่มบางชนิดหรือสารเคมีที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมบริเวณรอบๆ บางอย่างที่ร่างกายได้รับเข้าไปในขณะที่ใช้ยา แล้วทำให้ผลของยานั้นเปลี่ยนแปลงไป ผลที่เกิดขึ้นอาจเป็นได้ทั้งทำให้เกิดพิษจากการใช้ยา การรักษาไม่ได้ผลหรือเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา แต่อันตรกิริยาบางอย่างของยาก็อาจจะเป็นประโยชน์ทำให้ผลการรักษามีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่นการใช้ยาลดความดันโลหิตร่วมกับยาขับปัสสาวะร่วมกันเพื่อรักษาโรคความดันโลหิตสูง

http://www.thaihp.org/index.php?option=viewhome&lang=th&id=101&sub=-1&layout=0

Thursday, February 11, 2010

TUBERCULIN TEST

พยาบาลมาถามว่า PPD TEST ทำยังไง เราก็เลยเปิดตำรา DRUG INFORMATION HANDBOOK และโทรไปถามสถานเสาวภา เพราะในห้องยามี PPD TEST ชนิดน้ำ ที่เปิดใช้เมื่อวานแล้ว ความเข้มข้น 10 u/0.1ml ตำราบอกว่าให้ใช้ 5 u/0.1 mlฉีดที่ท้องแขน แล้วดูผลภายใน 2-3 วัน สถานเสาวภาบอกว่า ความเข้มข้น 10 u/0.1ml เทียบเท่า 5 u ในตำรา ไม่ต้องเจือจางอีกแล้ว ดูดมาใช้ได้เลย และให้เก็บได้24 ชั่วโมงเพื่อป้องกัน contamination แต่เชื้อยังคง activate จนกว่ายาจะ expire ถ้าเราเก็บในอุณหภูมิที่เหมาะสม และ ไม่ปนเปื้อน ก็ยังสามารถนำมาใช้ได้ซ้ำอีก

ในตำราDRUG INFORMATION HANDBOOK มีขนาด 1 u /0.1 ml ด้วยใช้กรณี high sensitive
คนไข้คนนี้เป็นเด็กอายุ 8 ขวบ เราให้พยาบาลเจือจาง 10 เท่า โดย draw ยามา 0.1 ml เจือจางด้วยน้ำเกลือ 1 ml แล้ว ดูดมาใช้ 0.1 ml หมอนัดอีก 3 วันดูผล

ไปค้นดูในเน็ต เจอเว๊บหนึ่งให้ความรู้ดีมากขอนำมาลอกไว้ในนี้ (www.maama.com)
การทดสอบวัณโรค
กระทำโดยการฉีดน้ำยา
ทูเบอร์คูลิน (Tuberculin) 0.1 ซี.ซี.
เข้าไปใต้ผิวหนัง
แล้วดูผล 4-8 ชั่วโมง
หลังจากทำการฉีดว่ามีอาการบวมแดง
ตรงบริเวณที่ฉีดหรือไม่
ถ้ามีแต่รอยเข็มฉีดยาหรือมีตุ่มแดง
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียง 4 มิลลิเมตร
เรียกว่าให้ผลลบ แสดงว่าไม่เคยได้รับเชื้อวัณโรค
ถ้ามีอาการบวมแดงขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลาง 10 ม.ม.ขึ้นไป
เรียกว่าให้ผลบวก แสดงว่าได้รับเชื้อวัณโรค
ถ้าเส้นผ่าศูนย์กลางอยู่ระหว่างขนาด 5-9 ม.ม.
เรียกว่า น่าสงสัย ต้องทดสอบอีกครั้ง 1-2 เดือนหลังจากนั้น

ถ้าผลทดสอบวัณโรคเป็นลบ
เด็กควรได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันวัณโรค (บี.ซี.จี)
ถ้าผลทดสอบเป็นบวก
และเด็กไม่เคยได้รับการฉีดวัคซีน บี.ซี.จี.มาก่อน
แสดงว่าร่างกายได้รับเชื้อวัณโรคเข้าไป
แต่ถึงแม้จะได้รับเชื้อวัณโรค
ก็ไม่จำเป็นต้องเป็นโรคทุกคนไป
ส่วนใหญ่มักไม่เป็นอะไร
แต่ในบางรายอาจเป็นโรคได้
ควรถ่ายเอกซเรย์บริเวณหน้าอกดู

การถ่ายเอกซเรย์หน้าอก
ไม่ได้หมายความว่าจะตรวจพบวัณโรคได้ 100%
ถ้าเป็นบริเวณที่เห็นไม่ถนัดในฟิล์มเอกซเรย์
ก็อาจตรวจไม่พบในกรณีที่เป็นเด็กทารก
ถึงแม้จะตรวจไม่พบก็ควรทำการรักษา
เหมือนกับกำลังเป็นวัณโรคจะปลอดภัยกว่า

สำหรับในรายที่ผลทดสอบเป็นที่น่าสงสัย
ต้องทดสอบอีก 1-2 เดือนหลังจากครั้งแรก
ถ้าผลทดสอบครั้งที่สองให้ผลเช่นเดียวกับครั้งแรก
ให้ถือเสมือนไม่ได้รับเชื้อ
เพราะในกรณีเช่นนี้ มีน้อยรายเหลือเกิน
ที่จะพบว่าเป็นวัณโรคจากการถ่ายเอกซเรย์
ส่วนใหญ่จะเป็นกรณีที่ถูกหาว่าเป็นวัณโรค
เพราะหมอเข้าใจผิดเอาว่า
เงาของเส้นเลือดตรงขั้วปอด
หรือเงาของเส้นเลือดตรงขั้วปอด
หรือเงาของต่อมธัยมัส (Thymus gland)
เป็นผลที่เกิดจากเชื้อวัณโรค

ถ้าผลทดสอบวัณโรคของลูกคุณ
ให้ผลเป็นที่น่าสงสัย
และหมอบอกว่าฟิล์มเอกซเรย์แสดงว่าขั้วปอดไม่ปก
ติ คุณควรให้คนที่ชำนาญการ
ดูฟิล์มเอกซเรย์ดูอีกครั้งหนึ่ง
ถ้าไม่มีใครพอที่จะดูให้ได้
ควรทดสอบวัณโรคอีกครั้งหนึ่ง
หลังจากนั้นอีกหนึ่งเดือน

เก๊าต์เฉียบพลัน

คนไข้มาตอนกลางคืน ด้วยอาการข้อบวมแดงร้อน แพทย์มาขอยา colchicine piroxicam ไปดู แพทย์บอกว่า อาการเฉียบพลัน คงให้ยาลดกรดยูริคไม่ได้ คงต้องให้กิน colchicine ทุก 1 ชั่วโมง จนครบ 6 เม็ด เราก็เลยค้นในเน็ตดู

ข้อหัวแม่เท้าปวด บวม แดง ร้อนขึ้นมาทันที ในคนที่อายุ 40 ปีขึ้นไป โดยเฉพาะในเพศชาย ที่มักจะอยู่ดีกินดี (ชอบกินเครื่องในสัตว์ สัตว์ปีก อาหารเนื้ออื่นๆ และสุรา ยาดองของเมาทั้งหลาย) มักจะอ้วน และอาจจะเป็นเบาหวานด้วย

อาการมักเริ่ม – ในเวลากลางคืน โดยจะปวดข้อหัวแม่เท้าขึ้นมากลางดึก ข้อหัวแม่เท้าจะบวม แดงร้อนและปวดมาก อาจขยับขาข้างนั้นไม่ได้ และบางครั้งอาจปวดจนแม้แต่โดนลมผ่านหัวแม่เท้าก็จะเจ็บเสียวขึ้นมามาก อาจมีไข้สูง และอาการไม่สบายอื่นๆ ที่สืบเนื่องมาจากการปวด

อาการแบบนี้มักเกิดจากการปวดข้อแบบเก๊าต์เฉียบพลัน (acute gouty arthritis) ไปตกตะกอนในข้อ ทำให้ข้ออักเสบ

เนื่องจากคนไข้ที่ปวดเก๊าต์แบบเฉียบพลันนี้ มักจะปวดมากและมักจะเป็นเวลากลางคืนจึงมาหาหมอลำบาก ผู้ใกล้ชิดอาจจะให้การตรวจรักษาดังนี้
1. ให้คนไข้นอนพัก ยกเท้าข้างที่ปวดให้สูงกว่าเข่า
2. ให้กินยาอินโดเมทาซิน (indomethacin) เม็ดละ 50 สตางค์ ครั้งละ 2 เม็ด ทุก 4-6 ชั่วโมง จนอาการดีขึ้น (อาการจะดีขึ้นภายใน 1-2 วัน) แล้วลดยาลงเหลือครั้งละ 1 เม็ด หลังอาหารเช้า-กลางวัน-เย็น เมื่ออาการหายสนิทให้หยุดยา

เนื่องจากยาอินโดเมทาซิน เป็นยาที่ระคายกระเพาะอาหารมาก จึงควรกินยาหลังอาหารทันที และควรกินยาลดกรด ครั้งละ 2 ช้อนโต๊ะ 1-2 ชั่วโมงหลังอาหารทุกมื้อและก่อนนอน และเวลาที่ปวดท้อง โดยเฉพาะในคนที่ชอบปวดท้องเวลาหิวหรือเวลาอิ่ม

ในคนที่เป็นโรคแผลในกระเพาะอาหารโดยเฉพาะ ถ้าเคยอาเจียนหรืออุจจาระเป็นเลือด ไม่ควรจะใช้ยานี้ ควรจะใช้ยาโคลซีซีน (colchicine) แทน ให้กินยาโคลซีซีนเม็ดละ 5.60 บาท 1 เม็ด ทุก 1 ชั่วโมง จนเกิดอาการท้องเดิน หรือคลื่นไส้อาเจียน หรือไม่เกิน 6 เม็ด อาการปวดข้อมักจะดีขึ้นใน 24 ชั่วโมง วันต่อไปให้กินครั้งละ 1 เม็ดหลังอาหารวันละ 2-3 ครั้ง เมื่ออาการปวดเก๊าต์นี้หายเรียบร้อยแล้ว อาจจะกินยาวันละครึ่งถึง 1 เม็ด เพื่อป้องกันอาการปวดเก๊าต์แบบเฉียบพลันได้

3. ควรให้ไปโรงพยาบาลเพื่อตรวจหาปริมาณกรดยูริกในเลือด ถ้ากรดยูริกในเลือดสูงมาก อาจต้องกิน
3.1 ยาลดการสร้างกรดยูริก คือ อัลโลพูรีนอล (allopurinol) หรือ
3.2 ยาขับกรดยูริก คือโพรเบเนซิค (probenecid) ซึ่งไม่ควรใช้ในผู้ที่เป็นโรคไต หรือขับกรดยูริกออกทางไต (ทางปัสสาวะ) มากอยู่แล้ว เพราะกรดยูริกอาจตกผลึกในไต ทำให้ไตพิการได้
3.3 ยาทำให้ปัสสาวะเป็นด่าง คือ โซเดียมไบคาร์บอเนต หรือโซดามินท์ เพื่อช่วยละลายกรดยูริกที่ขับออกทางไต ทำให้ไตพิการจากกรดยูริกน้อยลง

Tuesday, February 9, 2010

Ceftriaxone 1 gm IM

วันนี้ คุณหมอทางกุมารเวช
โทรมาถามว่า ยาฉีดตัวนี้ ปกติฉีด IV ถ้าเอามาให้ IM จะเจ็บมากไหม ก็เลยอธิบายว่า ยาชนิดฉีด IM ทางผู้ผลิตยาจะใช้ตัวทำละลายที่ผสมlidocaine ไว้แล้วซึ่งใส่มาในกล่องยาฉีดแล้ว จึงไม่เจ็บมาก

ต้องระวังกรณีผิดพลาด คือ หยิบยาชนิด IM ไปใช้IV ซี่งอันตรายเพราะ lidocaine ให้ทางเส้นเลือดไม่ได้ จึงต้องระวัง แต่ถ้าเอาตัวทำละลายของ ยาชนิด IV มาใช้กับ IM ได้ไม่เป็นไร แต่อาจจะเจ็บหน่อย

Monday, February 8, 2010

Lithium intoxication

วันนี้มีคนไข้มาพร้อมประวัติรักษาจากร.พ.สมเด็จเจ้าพระยา มาใช้สิทธิ 30 บาทที่คลีนิค พบว่า เจาะเลือด เจอค่า lithiumสูง มีค่า 2.76 mmol/L มีอาการ delirium seizure แพทย์สั่งหยุดยา ลิเธียม ให้น้ำเกลือ ถ้าไม่ดีขึ้น ให้ทำ dialysis แต่แพทย์ส่ง refer ศิริราชเลย

เราก็เลยมาค้นดู การเกิดพิษของยา lithium

1. ชื่อโครงการวิจัย:- ภาวะลิเธียมเป็นพิษ ( รายงานผู้ป่วย 11 ราย)
2. ผู้วิจัย:-  นายแพทย์สันติชัย ฉ่ำจิตรชื่น (นายแพทย์ 8 วช โรงพยาบาลศรีธัญญา)

3. หลักการและเหตุผล:-  โรคไบโพลาร์ เป็นโรคที่มีความชุกสูงโรคหนึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับโรคทางจิตเวชอื่น ลิเธียมเป็นตัวยาตัวหนึ่งที่เป็นทางเลือกที่สำคัญในการรักษาโรคไบโพลาร์ แต่ลิเธียมเป็นยาที่มี Therapeutic index แคบ ซึ่งอาจก่อให้เกิดอาการลิเธียมเป็นพิษได้ง่ายและผู้ป่วยอาจมีปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆ ที่อาจเป็นตัวเสริมก่อให้เกิดภาวะลิเธียมเป็นพิษได้ง่าย ดังนั้น ภาวะลิเธียมเป็นพิษจึงเป็นอุบัติการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นได้บ่อย ซึ่งเป็นภาวะเร่งด่วนและอยู่ในระดับรุนแรง อาจมีผลทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ ฉนั้นการได้มีการศึกษาเรื่องอาการและการดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีภาวะลิเธียมเป็นพิษจึงมีความสำคัญมาก

4. วัตถุประสงค์:- เพื่อรายงานอาการแสดงของลิเธียมเป็นพิษ ปัจจัยเสี่ยงต่อภาวะลิเธียมเป็นพิษ การรักษาและผลการรักษาภาวะลิเธียมเป็นพิษ

5. วิธีดำเนินการ:- ศึกษาโดยการทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้องจากบทความและตำราที่เลือกสรร และทบทวนเวชระเบียนผู้ป่วยของโรงพยาบาลศรีธัญญา ซึ่งมีระดับยาลิเธียมในกระแสเลือดมากกว่า 1.5 mEq/L ใน 6 เดือนที่ผ่านมา (มีนาคม – สิงหาคม 2548)

6. ผลการวิจัย:- ผู้ป่วยภาวะลิเธียมเป็นพิษ 11 ราย อาการแสดงมากน้อยแตกต่างกันไปขึ้นกับระดับยาในกรแสเลือดตั้งแต่ไม่มีอาการแสดงไปจนถึงง่วงซึม งง สับสน เดินซอยเท้า อ่อนแรง เซ ภาพซ้อน พูดอ้อแอ้ สำหรับปัจจัยเสี่ยงของภาวะลิเธียมเป็นพิษ ได้แก่ ขนาดลิเธียมที่สูง ผู้ป่วยสูงอายุ ภาวการณ์ติดเชื้อ โรคร่วมที่ทำให้การทำงานของไตลดลง และการได้รับยาอื่นที่ขัดขวางการขับถ่ายลิเธียม เช่น NSAID ถึงแม้ในรูปแบบยาทา การรักษาภาวะลิเธียมเป็นพิษที่สำคัญ คื่อการรักษาระดับน้ำไหลเวียนในร่างกายให้เพียงพอโดยการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ การหยุดยาหรือปรับลดยาลิเธียม การให้ยาที่เพิ่มการขับลิเธียมออกจากร่างกาย และการพิจารณาให้การฟอกเลือดในรายที่มีอาการรุนแรง ผลการรักษาระดับลิเธียมในกระแสเลือดจะกลับสู่ปกติส่วนใหญ่ภายใน 1- 3 วัน

7. ข้อเสนอแนะ:- ภาวะลิเธียมเป็นพิษถือเป็นอาการแทรกซ้อนจากการรักษาที่สำคัญ ผู้ดูแลผู้ป่วยควรได้มีการทบทวนองค์ความรู้ด้านนี้อยู่เสมอและต่อเนื่อง เพราะจะช่วยให้ผู้ป่วยรอดพ้นจากภาวะวิกฤตที่เสี่ยงต่อชีวิตได้

Wednesday, February 3, 2010

vitamin b complex injection

วันนี้ คุณหมอโทรมาถามว่า ให้ยาฉีด B co.ทาง iv pure ๆ ได้หรือเปล่า เลยรีบมาค้นอินเตอร์เน็ตเจอข้อมูลดังนี้

ควรให้โดยฉีดเข้าทางกล้ามเนื้อ หรือให้ทางหลอดเลือดดำอย่างช้าๆ (มากกว่า 30 นาที) ในน้ำยากลูโคส หรือน้ำเกลือปราศจากเชื้อ ป้องกันแสงขณะให้ถ้าทำได้เพื่อป้องกันการสลายตัวของยา (ยาที่ยังไม่เปิดใช้ควรเก็บในตู้เย็น 2-15 องศา)
เนื่องจากวิตามินบี 6 (Pyridoxine) เมื่อให้ในขนาดสูงอาจทำให้เกิดอาการชักได้ จึงไม่ควรให้แบบ IV โดยตรง แต่ถ้าต้องให้ก็ต้องติดตามอาการระหว่างให้อย่างใกล้ชิด และต้องฉีดในอัตราเร็วที่ช้ามาก ๆ 5 นาทีขึ้นไป

ข้อมูลจาก Drug information handbook 2007
http://rxrama.com/forum/viewtopic.php?TopicID=846

มีข้อมูลเพิ่มเติมอีกบอกว่า
ตัววิตามินบีหนึ่งมีฤทธิ์เป็นกรด ซึ่งปกติให้ iv push ไม่ได้ เพราะทำให้ค่า pH ในเลือดเป็นกรด แต่เพราะเลือดในร่างกายสามารถเจือจางได้ จึงให้ได้ แต่ก็ต้องให้ช้ามาก ๆ